ภูมิประเทศจังหวัดพิจิตร
ประวัติความเป็นมา |
ในอดีตการปกป้องรักษาบ้านเมือง นอกจากมีกำลังพลกองทัพบกแล้ว กำลังพลกองทัพ เรือ ก็มีความสำคัญในการรักษาเอกราชของชาติ ตั้งแต่สมัย กรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ กำลังรบ ทางเรือในลำน้ำ แม่น้ำลำคลอง ใช้เรือพายเป็นหลัก การรบจะเรือพายเข้ามาชิด เรือข้าศึก และฝีพาย ซึ่งเป็นกำลังรบด้วย จะทำการเข้าประชิดตัวข้าศึก ทำการรบพุ่งกับ ข้าศึก. ดังนั้นเรือพายจึงเป็นกำลังหลักทางน้ำ ในยามบ้านเมืองสงบปราศจากข้า ศึก กองทัพเรือได้ทำเรือพายมาใช้ในการแข่งขันกีฬา เช่น การเล่นเพลาเรือ พระ เพณีพรและประเพณีแข่งเรือ |
ประเพณีแข่งเรือยาวของจังหวัดพิจิตร |
การแข่งเรือยาวของหวัดท่าหลวง เริ่มในสมัยท่าเจ้าคุณ พระธรรมทัสส์มุนีวงค์ (เอี่ยม) เจ้าอาวาสวัดท่าหลวง และเจ้าคณะจังหวัดพิจิตร เมื่อ ประมาณ พ.ศ. 2450 ได้กำหนดงานจัดงานแข่งขันเรือตามกำหนดวัน คือ วัน ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี ภายหลังน้ำในแม่น้ำน่าน ลดลงเร็วเกินไป ไม่ เหมาะสมจะแข่งขันเรือยาว จึงเปลี่ยนมาเป็นวันขึ้น 6 ค่ำ เดือน 10 และทางวัด แข่งขันเพียงวันเดียว การแข่งขันเรือยาว ได้จัดนำผ้าห่มหลวงพ่อเพชร มอบให้ เป็นรางวัล สำหรับเรือยาวที่ชนะเลิศ และรองชนะเลิศ ต่อมาได้เปลี่ยนรางวัล เป็นธงที่มีรูปหลวงพ่อเพชรแทน |
ประเภทและขนาดการแข่งขันเรือยาว |
ขนาดฝีพาย 3 ขนาด คือ 1. ขนาดเล็ก ฝีพายไม่เกิน 28 คน |
ประเภท 2 ประเภท คือ ประเภท ก เรือยาวที่ทำการแข็งขัยแล้ววิ่งจัด |
ในปี 2532 ได้ปรับปรุงและเพิ่มประเภทการแข่งขัน ดังนี้ 1. เรือที่แข่งขันในวันแรก และชนะจัดอยู่ในประเภท ก 1, ข 1. |
กำหนดการแข่งขันเรือยาวประเพณี |
กำหนดการแข่งขันเรือยาวประเพณี วันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ของต้นเดือนกันยายนของทุกปี ณ บริเวณวัดท่าหลวง |